SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
การวิเคราะห์ข้อสอบ
                                      Item analysis

1. จัดทำข้อสอบจำนวน 10 ข้อ นำไปทดสอบกับนักเรียนจำนวน 15 คน ข้อสอบมีดังนี้

                             แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
                      กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

คาชี้แจง ให้นักเรียนกำเครื่องหมำย (x) ทับข้อ ก ข ค หรือ ง ที่ถูกต้องที่สุด
              เพียงข้อเดียว คะแนนข้อละ 1 คะแนน
1. คำควบกล้ำแบ่งออกเป็นกี่ชนิด(ควำมรู้ควำมจำ)
   ก. 1 ชนิด
   ข. 2 ชนิด
   ค. 3 ชนิด
   ง. 4 ชนิด
2. กำรอ่ำนคำควบไม่แท้อ่ำนได้กี่ลักษณะ(ควำมรู้ควำมจำ)
   ก. 4 ลักษณะ
   ข. 3 ลักษณะ
   ค. 2 ลักษณะ
   ง. 1 ลักษณะ
3. อ่ำนออกเสียงแปรไปเป็นเสียงพยัญชนะอื่นเป็นคำชนิดใด(ควำมรู้ควำมจำ)
   ก. คำควบกล้ำ
   ข. อักษรควบ
   ค. คำควบไม่แท้ คือ ไม่ออกเสียง ร
   ง. คำควบไม่แท้ คือ ทร ออกเสียง ซ
4. กำรอ่ำนออกเสียงพยัญชนะต้นตัวหน้ำเพียงตัวเดียว พยัญชนะตัวหลังไม่ออกเสียงเลยเป็นคำชนิดใด
(ควำมรู้ควำมจำ)
   ก. คำควบกล้ำ
   ข. คำควบไม่แท้
   ค. คำควบแท้
   ง. ไม่มีข้อถูก
5. คำควบกล้ำเรียกอีกอย่ำงหนึ่งว่ำอย่ำงไร(ควำมรู้ควำมจำ)
   ก. ตัวควบ
   ข. ตัวกล้ำ
   ค. อักษรควบ
   ง. คำควบกล้ำ
6. ข้อใดเป็นคำควบแท้(ควำมเข้ำใจ)
   ก. เกรียงไกร
   ค. ศรัทธำ
   ข. ปรำศรัย
   ง. อำศรม
7. คำว่ำ “ครั้ง – ครำ” เขียนสะกดคำว่ำอย่ำงไร(ควำมรู้ควำมจำ)
   ก. ครั้งครำ
   ข. คลั้งคลำ
   ค. ครั้งคลำ
   ง. คลั้งครำ
8. สุภำษิตในข้อใดมีคำควบกล้ำ(วิเครำะห์)
   ก. ทำนำบนหลังคน
   ข. ตำข้ำวสำรกรอกหม้อ
   ค. ไปเรือนท่ำนอย่ำนิ่งดูดำย
   ง. แพะรับบำป
9. ข้อใดอ่ำนถูกต้อง(วิเครำะห์)
   ก. สร้ำง = สร้ำง
   ข. พุทรำ = พุด - ทรำ
   ค. ปรับปรุง = ปรับ - ปรุง
   ง. เสริม = เสริม
 10. . ข้อใดอ่ำนไม่ถูกต้อง(วิเครำะห์)
   ก. ต้นไทร อ่ำนว่ำ ต้น - ไซ
   ข. ทรุดโทรม อ่ำนว่ำ ซุด - โซม
   ค. ฉะเชิงเทรำ อ่ำนว่ำ ฉะ - เชิง – เซรำ
   ง. ทรำมวัย อ่ำนว่ำ ซำม – วัย


   2. เรียงคะแนน จาก มาก ไปหา                น้อย โดยแบ่งครึ่งกระดาษคาตอบโดยใช้เทคนิค 50 %
โดยแบ่งเป็น กลุ่มสูง ( H ) และกลุ่มต่า ( L ) ดังตำรำง

                      H                                             L
       ลำดับที่                 คะแนน                    ลำดับที่           คะแนน
         1                        10                       8                  5
         2                        9                        9                  5
         3                        8                        10                 4
         4                        8                        11                 4
5                    8                     12                     4
           6                    6                     13                     3
           7                    6                     14                     3

หมายเหตุ
( นักเรียนทั้งหมด 15 คน หยิบกระดำษคำตอบคนที่ 8 ออกแบบเจำะจงเพื่อให้เหลือ 14 คนแล้วเรียง
คะแนนดังตำรำงข้ำงต้น)

3. แจงนับควำมถี่ของคะแนนจำกกำรทำแบบทดสอบแต่ละข้อดังตำรำง

กลุ่มสูง
คน/ข้อ         1   2     3      4      5      6      7       8      9    10 รวม
       1       1   1     1      1      1      1      1       1      1     1 10
       2       1   1     1      1      1      1      1       0      1     1     9
       3       1   1     0      1      0      1      1       1      1     1     8
       4       1   1     0      1      1      1      1       0      1     1     8
       5       1   1     1      1      0      1      1       1      0     1     8
       6       0   0     1      0      1      1      1       1      1     0     6
       7       1   1     0      0      0      1      1       1      1     0     6
รวม            6   6     4      5      4      7      7       5      6     5 55
กลุ่มต่ำ
คน/ข้อ         1   2     3      4      5      6      7       8      9    10 รวม
       1       1   0     1      0      0      1      1       0      1     0     5
       2       1   1     0      1      1      0      1       0      0     0     5
       3       0   0     0      0      0      1      1       1      1     0     4
       4       0   0     0      1      0      1      1       0      0     1     4
       5       0   1     0      0      1      1      1       0      0     0     4
       6       0   0     0      0      1      0      0       1      1     0     3
       7       1   1     0      0      0      0      1       0      0     0     3
รวม            3   3     1      2      3      4      6       2      3     1 28
4. การวิเคราะห์หาค่าความยากง่าย (p) และค่าอานาจจาแนก (r) ของแบบทดสอบวัดผล
สัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้สูตรดังนี้
                ค่าความยากง่าย (p)
                         คานวณโดยใช้สูตร           p
               ค่าอานาจจาแนก (r)
                         คานวณโดยใช้สูตร           r
       เมื่อ   P         คือ   ค่าความยากของข้อสอบ
               r         คือ   ค่าอานาจจาแนกของข้อสอบ
               H         คือ   จานวนคนในกลุ่มสูงตอบถูก
               L         คือ   จานวนคนในกลุ่มต่าตอบถูก
               N         คือ   จานวนคนทั้งหมดในกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง

    5. การวิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้
สูตรของคูเดอร์ - ริชาร์ดสัน (Kuder – Richardson-20) (K.R.-20)

                                                        pq 
       คานวณโดยใช้สูตร KR – 20                         1  S 2 
                                                               


       เมื่อ             แทน    ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับ
               N         แทน    จานวนข้อสอบของแบบทดสอบทั้งฉบับ
               P         แทน    อัตราส่วนของผู้ตอบถูกในข้อนั้น
               q         แทน    อัตราส่วนของผู้ตอบผิดในข้อนั้น
                         แทน ความแปรปรวนของคะแนนทั้งฉบับ


       สูตรความแปรปรวน                         =

ผลกำรวิเครำะห์ดังตำรำง
ตารางค่าความยากง่าย (p) ค่าอานาจจาแนก (r) และค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับ
 ข้อที่         H                L            p            r      q        pq
   1             6               3           0.64        0.43    0.36    0.2304
   2             6               3           0.64        0.43    0.36    0.2304
   3             4               1           0.36        0.43    0.64    0.2304
   4             5               2           0.50        0.43    0.50    0.2500
   5             4               3           0.50        0.14*   0.50    0.2500
   6             7               4           0.79        0.43    0.21    0.1659
   7             7               6          0.93*        0.14*   0.07    0.0651
   8             5               2           0.50        0.43    0.50    0.2500
   9             6               3           0.64        0.43    0.36    0.2304
  10             5               1           0.43        0.57    0.57    0.2451
 รวม            55              28                                       2.1477
                 ค่ำควำมเชื่อมั่นทั้งฉบับ = .66

          หมายเหตุ * เป็นข้อสอบที่ใช้ไม่ได้

จำกตำรำงนำมำแทนค่ำทำงสถิติได้ดังนี้

สูตรความแปรปรวน                        =

                                           =

                                           =
                                           = 5.30
ฉะนั้น หาค่า KR-20 ได้ดังนี้

                                           =

                                           =    × 0.59
                          KR-20            = 0.66
          สรุปได้ว่า แบบทดสอบฉบับนี้มีค่าความเชื่อมั่นที่ 0.66
แปลความหมายได้ว่าแบบทดสอบนี้มีค่าความเชื่อมั่นใช้ได้
6. การวิเคราะห์ตัวเลือกตัวลวงของข้อสอบที่ใช้ไม่ได้

               ข้อที่ 5 คำควบกล้ำเรียกอีกอย่ำงหนึ่งว่ำอย่ำงไร
                    ก. ตัวควบ
                    ข. ตัวกล้ำ
                    ค. อักษรควบ
                    ง. คำควบกล้ำ
 ข้อที่         ตัวเลือก                 H                      L                 หมายเหตุ
   5               ก                      -                     -                 p = 0.50
                   ข                      -                     1                  r = 0.14
                   ค                      4                     3
                    ง                     3                     3
                    จำกตำรำงข้อที่ 5 มีค่ำ p = 0.50 มีค่ำ r = 0.14 ข้อสอบยำกปำนกลำงแต่จำแนกได้น้อย
ตัวเลือก ค มีผู้เลือกมำกที่สุดในกลุ่ม H และกลุ่ม L ตัวลวง ก ไม่มีผู้เลือกทั้งในกลุ่ม H และกลุ่ม L
ตัวลวง ข ไม่มีผู้เลือกในกลุ่ม H และมีผู้เลือก 1 คนในกลุ่ม L        ตัวลวง ง กลุ่ม H มีผู้เลือก 3 คน
กลุ่ม L มีผู้เลือก 3 คน
                    จึงควรปรับปรุงตัวลวง ข้อ ง ดังนี้
                           ข้อที่ 5 คำควบกล้ำเรียกอีกอย่ำงหนึ่งว่ำอย่ำงไร
                                ก. ตัวควบ
                                ข. ตัวกล้ำ
                                ค. อักษรควบ
                                ง. อักษรนำ

                       ข้อ 7 คำ “ครั้ง – ครำ” เขียนสะกดคำว่ำอย่ำงไร
                            ก. ครั้งครำ
                            ข. คลั้งคลำ
                            ค. ครั้งคลำ
                            ง. คลั้งคลำ
 ข้อที่         ตัวเลือก                  H                  L                    หมายเหตุ
   7               ก                      7                     6                 p = 0.93
                   ข                      -                     -                  r = 0.14
                   ค                      -                     1
                    ง                     -                     -
จำกตำรำงข้อที่ 7 มีค่ำ p = 0.93 มีค่ำ r = 0.14 ข้อสอบง่ำยเกินไปจำแนกได้น้อย ตัวเลือก ก
มีผู้เลือกมำกที่สุดในกลุ่ม H และกลุ่ม L ตัวลวง ค มีผู้เลือกในกลุ่ม L         1 คน ตัวลวง ข
และตัวลวง ง กลุ่ม ไม่มีผู้เลือกทั้ง ในกลุ่ม H และกลุ่ม L
          จึงควรปรับปรุงข้อคำถำมและตัวลวง ดังนี้
                      ข้อ 7 คำควบกล้ำใดเขียนสะกดถูกต้อง
                              ก. ครั้งครำ
                              ข. ขลัวตำ
                              ค. ทรุดโซม
                              ง. แซรก

สรุปผลการวิเคราะห์ข้อสอบ
         จากการวิเคราะห์ข้อสอบ จากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทยจานวน 10 ข้อ สรุปได้ว่า ข้อสอบมีค่าความยากง่าย (p)มีค่าระหว่าง 0.36 - 0.930 ค่า
อานาจจาแนก (r) มีค่าระหว่าง 0.14 – 0.57ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับ = .66แปลผลได้
ว่ามีความเชื่อมั่น ใช้ได้
         จากข้อสอบทั้งหมด 10 ข้อ มีข้อสอบที่ใช้ได้ 8 ข้อ ใช้ไม่ได้ 2 ข้อ จึงได้ปรับปรุงข้อสอบ
ดังกล่าว

More Related Content

Viewers also liked

Vuefolio seminar for Intuit November 2015
Vuefolio seminar for Intuit November 2015Vuefolio seminar for Intuit November 2015
Vuefolio seminar for Intuit November 2015Vuefolio
 
Reaction to the dream act podcast
Reaction to the dream act podcastReaction to the dream act podcast
Reaction to the dream act podcastXoBDecryption
 
Analisis de problemas en manejo de materiales
Analisis de problemas en  manejo de materialesAnalisis de problemas en  manejo de materiales
Analisis de problemas en manejo de materialesLegna Marcano
 
Karatbars: progetto 6 settimane
Karatbars: progetto 6 settimaneKaratbars: progetto 6 settimane
Karatbars: progetto 6 settimaneAndrea Franchi
 
Arte barroco patricia
Arte barroco patriciaArte barroco patricia
Arte barroco patricialaliif
 
สารข าว
สารข าวสารข าว
สารข าว4821010054
 
сорока э.ю. визитная карточка проекта генетика человека
сорока э.ю. визитная карточка проекта генетика человекасорока э.ю. визитная карточка проекта генетика человека
сорока э.ю. визитная карточка проекта генетика человекаakoros
 

Viewers also liked (14)

Voyage parís 2015
Voyage parís 2015Voyage parís 2015
Voyage parís 2015
 
El poder del ahora
El poder del ahoraEl poder del ahora
El poder del ahora
 
1. presentacion
1. presentacion1. presentacion
1. presentacion
 
Planning
PlanningPlanning
Planning
 
Vuefolio seminar for Intuit November 2015
Vuefolio seminar for Intuit November 2015Vuefolio seminar for Intuit November 2015
Vuefolio seminar for Intuit November 2015
 
Reaction to the dream act podcast
Reaction to the dream act podcastReaction to the dream act podcast
Reaction to the dream act podcast
 
Demo
DemoDemo
Demo
 
BALONCESTO
BALONCESTOBALONCESTO
BALONCESTO
 
Analisis de problemas en manejo de materiales
Analisis de problemas en  manejo de materialesAnalisis de problemas en  manejo de materiales
Analisis de problemas en manejo de materiales
 
Karatbars: progetto 6 settimane
Karatbars: progetto 6 settimaneKaratbars: progetto 6 settimane
Karatbars: progetto 6 settimane
 
Arte barroco patricia
Arte barroco patriciaArte barroco patricia
Arte barroco patricia
 
RWT_SYARIEF_43298608
RWT_SYARIEF_43298608RWT_SYARIEF_43298608
RWT_SYARIEF_43298608
 
สารข าว
สารข าวสารข าว
สารข าว
 
сорока э.ю. визитная карточка проекта генетика человека
сорока э.ю. визитная карточка проекта генетика человекасорока э.ю. визитная карточка проекта генетика человека
сорока э.ю. визитная карточка проекта генетика человека
 

Similar to ว เคราะห ข_อสอบโสภา

การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้NU
 
กระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทย
กระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทยกระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทย
กระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทยAobinta In
 
กระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษา
กระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษากระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษา
กระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษาAobinta In
 
กระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษ
กระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษกระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษ
กระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษAobinta In
 
หน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลังหน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลังFern Baa
 
เอกสารประกอบ ทศนิยม
เอกสารประกอบ ทศนิยมเอกสารประกอบ ทศนิยม
เอกสารประกอบ ทศนิยมwarijung2012
 
ว เคราะห แบบทดสอบ 5 ข_อ
ว เคราะห แบบทดสอบ 5 ข_อว เคราะห แบบทดสอบ 5 ข_อ
ว เคราะห แบบทดสอบ 5 ข_อ4821010054
 
แบบเรียนคณิตศาสตร์ยุวพุทธป.1 3
แบบเรียนคณิตศาสตร์ยุวพุทธป.1 3แบบเรียนคณิตศาสตร์ยุวพุทธป.1 3
แบบเรียนคณิตศาสตร์ยุวพุทธป.1 3niralai
 
เอกสารประกอบ เศษส่วน
เอกสารประกอบ เศษส่วนเอกสารประกอบ เศษส่วน
เอกสารประกอบ เศษส่วนwarijung2012
 
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วนชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วนพิทักษ์ ทวี
 
สื่อคณิตประกวด
สื่อคณิตประกวดสื่อคณิตประกวด
สื่อคณิตประกวดmaneewaan
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...บ.ชีทราม จก.
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1  ฉบับที่ 2ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1  ฉบับที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 

Similar to ว เคราะห ข_อสอบโสภา (20)

การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
 
Sttstc e
Sttstc eSttstc e
Sttstc e
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
กระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทย
กระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทยกระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทย
กระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทย
 
กระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษา
กระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษากระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษา
กระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษา
 
กระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษ
กระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษกระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษ
กระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษ
 
หน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลังหน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลัง
 
เอกสารประกอบ ทศนิยม
เอกสารประกอบ ทศนิยมเอกสารประกอบ ทศนิยม
เอกสารประกอบ ทศนิยม
 
ว เคราะห แบบทดสอบ 5 ข_อ
ว เคราะห แบบทดสอบ 5 ข_อว เคราะห แบบทดสอบ 5 ข_อ
ว เคราะห แบบทดสอบ 5 ข_อ
 
แบบเรียนคณิตศาสตร์ยุวพุทธป.1 3
แบบเรียนคณิตศาสตร์ยุวพุทธป.1 3แบบเรียนคณิตศาสตร์ยุวพุทธป.1 3
แบบเรียนคณิตศาสตร์ยุวพุทธป.1 3
 
เอกสารประกอบ เศษส่วน
เอกสารประกอบ เศษส่วนเอกสารประกอบ เศษส่วน
เอกสารประกอบ เศษส่วน
 
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วนชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
 
สื่อคณิตประกวด
สื่อคณิตประกวดสื่อคณิตประกวด
สื่อคณิตประกวด
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1  ฉบับที่ 2ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1  ฉบับที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 2
 
Math2556
Math2556Math2556
Math2556
 
Math2556
Math2556Math2556
Math2556
 
Math2556
Math2556Math2556
Math2556
 
Math2556
Math2556Math2556
Math2556
 

More from 4821010054

การสร างเกณฑ แบบร_บร_ค 2
การสร างเกณฑ แบบร_บร_ค 2การสร างเกณฑ แบบร_บร_ค 2
การสร างเกณฑ แบบร_บร_ค 24821010054
 
การสร างเกณฑ แบบร_บร_ค 1
การสร างเกณฑ แบบร_บร_ค 1การสร างเกณฑ แบบร_บร_ค 1
การสร างเกณฑ แบบร_บร_ค 14821010054
 
ว เคราะห สารในการอ_าน
ว เคราะห สารในการอ_านว เคราะห สารในการอ_าน
ว เคราะห สารในการอ_าน4821010054
 
การสร างเกณฑ ร_บร_คสกอร_ นางสาวศ_ร_ก_ล มะล_งาม
การสร างเกณฑ ร_บร_คสกอร_ นางสาวศ_ร_ก_ล  มะล_งามการสร างเกณฑ ร_บร_คสกอร_ นางสาวศ_ร_ก_ล  มะล_งาม
การสร างเกณฑ ร_บร_คสกอร_ นางสาวศ_ร_ก_ล มะล_งาม4821010054
 
การว เคราะห สารในการอ_าน นางสาวศ_ร_ก_ล มะล_งาม
การว เคราะห สารในการอ_าน นางสาวศ_ร_ก_ล  มะล_งามการว เคราะห สารในการอ_าน นางสาวศ_ร_ก_ล  มะล_งาม
การว เคราะห สารในการอ_าน นางสาวศ_ร_ก_ล มะล_งาม4821010054
 
ว เคราะห ข_อสอบล_คก__
ว เคราะห ข_อสอบล_คก__ว เคราะห ข_อสอบล_คก__
ว เคราะห ข_อสอบล_คก__4821010054
 

More from 4821010054 (15)

การสร างเกณฑ แบบร_บร_ค 2
การสร างเกณฑ แบบร_บร_ค 2การสร างเกณฑ แบบร_บร_ค 2
การสร างเกณฑ แบบร_บร_ค 2
 
การสร างเกณฑ แบบร_บร_ค 1
การสร างเกณฑ แบบร_บร_ค 1การสร างเกณฑ แบบร_บร_ค 1
การสร างเกณฑ แบบร_บร_ค 1
 
ว เคราะห สารในการอ_าน
ว เคราะห สารในการอ_านว เคราะห สารในการอ_าน
ว เคราะห สารในการอ_าน
 
การสร างเกณฑ ร_บร_คสกอร_ นางสาวศ_ร_ก_ล มะล_งาม
การสร างเกณฑ ร_บร_คสกอร_ นางสาวศ_ร_ก_ล  มะล_งามการสร างเกณฑ ร_บร_คสกอร_ นางสาวศ_ร_ก_ล  มะล_งาม
การสร างเกณฑ ร_บร_คสกอร_ นางสาวศ_ร_ก_ล มะล_งาม
 
การว เคราะห สารในการอ_าน นางสาวศ_ร_ก_ล มะล_งาม
การว เคราะห สารในการอ_าน นางสาวศ_ร_ก_ล  มะล_งามการว เคราะห สารในการอ_าน นางสาวศ_ร_ก_ล  มะล_งาม
การว เคราะห สารในการอ_าน นางสาวศ_ร_ก_ล มะล_งาม
 
ว เคราะห ข_อสอบล_คก__
ว เคราะห ข_อสอบล_คก__ว เคราะห ข_อสอบล_คก__
ว เคราะห ข_อสอบล_คก__
 
Kai
KaiKai
Kai
 
005
005005
005
 
004
004004
004
 
003
003003
003
 
007
007007
007
 
007
007007
007
 
004
004004
004
 
003
003003
003
 
005
005005
005
 

ว เคราะห ข_อสอบโสภา

  • 1. การวิเคราะห์ข้อสอบ Item analysis 1. จัดทำข้อสอบจำนวน 10 ข้อ นำไปทดสอบกับนักเรียนจำนวน 15 คน ข้อสอบมีดังนี้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 คาชี้แจง ให้นักเรียนกำเครื่องหมำย (x) ทับข้อ ก ข ค หรือ ง ที่ถูกต้องที่สุด เพียงข้อเดียว คะแนนข้อละ 1 คะแนน 1. คำควบกล้ำแบ่งออกเป็นกี่ชนิด(ควำมรู้ควำมจำ) ก. 1 ชนิด ข. 2 ชนิด ค. 3 ชนิด ง. 4 ชนิด 2. กำรอ่ำนคำควบไม่แท้อ่ำนได้กี่ลักษณะ(ควำมรู้ควำมจำ) ก. 4 ลักษณะ ข. 3 ลักษณะ ค. 2 ลักษณะ ง. 1 ลักษณะ 3. อ่ำนออกเสียงแปรไปเป็นเสียงพยัญชนะอื่นเป็นคำชนิดใด(ควำมรู้ควำมจำ) ก. คำควบกล้ำ ข. อักษรควบ ค. คำควบไม่แท้ คือ ไม่ออกเสียง ร ง. คำควบไม่แท้ คือ ทร ออกเสียง ซ 4. กำรอ่ำนออกเสียงพยัญชนะต้นตัวหน้ำเพียงตัวเดียว พยัญชนะตัวหลังไม่ออกเสียงเลยเป็นคำชนิดใด (ควำมรู้ควำมจำ) ก. คำควบกล้ำ ข. คำควบไม่แท้ ค. คำควบแท้ ง. ไม่มีข้อถูก 5. คำควบกล้ำเรียกอีกอย่ำงหนึ่งว่ำอย่ำงไร(ควำมรู้ควำมจำ) ก. ตัวควบ ข. ตัวกล้ำ ค. อักษรควบ ง. คำควบกล้ำ
  • 2. 6. ข้อใดเป็นคำควบแท้(ควำมเข้ำใจ) ก. เกรียงไกร ค. ศรัทธำ ข. ปรำศรัย ง. อำศรม 7. คำว่ำ “ครั้ง – ครำ” เขียนสะกดคำว่ำอย่ำงไร(ควำมรู้ควำมจำ) ก. ครั้งครำ ข. คลั้งคลำ ค. ครั้งคลำ ง. คลั้งครำ 8. สุภำษิตในข้อใดมีคำควบกล้ำ(วิเครำะห์) ก. ทำนำบนหลังคน ข. ตำข้ำวสำรกรอกหม้อ ค. ไปเรือนท่ำนอย่ำนิ่งดูดำย ง. แพะรับบำป 9. ข้อใดอ่ำนถูกต้อง(วิเครำะห์) ก. สร้ำง = สร้ำง ข. พุทรำ = พุด - ทรำ ค. ปรับปรุง = ปรับ - ปรุง ง. เสริม = เสริม 10. . ข้อใดอ่ำนไม่ถูกต้อง(วิเครำะห์) ก. ต้นไทร อ่ำนว่ำ ต้น - ไซ ข. ทรุดโทรม อ่ำนว่ำ ซุด - โซม ค. ฉะเชิงเทรำ อ่ำนว่ำ ฉะ - เชิง – เซรำ ง. ทรำมวัย อ่ำนว่ำ ซำม – วัย 2. เรียงคะแนน จาก มาก ไปหา น้อย โดยแบ่งครึ่งกระดาษคาตอบโดยใช้เทคนิค 50 % โดยแบ่งเป็น กลุ่มสูง ( H ) และกลุ่มต่า ( L ) ดังตำรำง H L ลำดับที่ คะแนน ลำดับที่ คะแนน 1 10 8 5 2 9 9 5 3 8 10 4 4 8 11 4
  • 3. 5 8 12 4 6 6 13 3 7 6 14 3 หมายเหตุ ( นักเรียนทั้งหมด 15 คน หยิบกระดำษคำตอบคนที่ 8 ออกแบบเจำะจงเพื่อให้เหลือ 14 คนแล้วเรียง คะแนนดังตำรำงข้ำงต้น) 3. แจงนับควำมถี่ของคะแนนจำกกำรทำแบบทดสอบแต่ละข้อดังตำรำง กลุ่มสูง คน/ข้อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 รวม 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 10 2 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 9 3 1 1 0 1 0 1 1 1 1 1 8 4 1 1 0 1 1 1 1 0 1 1 8 5 1 1 1 1 0 1 1 1 0 1 8 6 0 0 1 0 1 1 1 1 1 0 6 7 1 1 0 0 0 1 1 1 1 0 6 รวม 6 6 4 5 4 7 7 5 6 5 55 กลุ่มต่ำ คน/ข้อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 รวม 1 1 0 1 0 0 1 1 0 1 0 5 2 1 1 0 1 1 0 1 0 0 0 5 3 0 0 0 0 0 1 1 1 1 0 4 4 0 0 0 1 0 1 1 0 0 1 4 5 0 1 0 0 1 1 1 0 0 0 4 6 0 0 0 0 1 0 0 1 1 0 3 7 1 1 0 0 0 0 1 0 0 0 3 รวม 3 3 1 2 3 4 6 2 3 1 28
  • 4. 4. การวิเคราะห์หาค่าความยากง่าย (p) และค่าอานาจจาแนก (r) ของแบบทดสอบวัดผล สัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้สูตรดังนี้ ค่าความยากง่าย (p) คานวณโดยใช้สูตร p ค่าอานาจจาแนก (r) คานวณโดยใช้สูตร r เมื่อ P คือ ค่าความยากของข้อสอบ r คือ ค่าอานาจจาแนกของข้อสอบ H คือ จานวนคนในกลุ่มสูงตอบถูก L คือ จานวนคนในกลุ่มต่าตอบถูก N คือ จานวนคนทั้งหมดในกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง 5. การวิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้ สูตรของคูเดอร์ - ริชาร์ดสัน (Kuder – Richardson-20) (K.R.-20)  pq  คานวณโดยใช้สูตร KR – 20 1  S 2    เมื่อ แทน ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับ N แทน จานวนข้อสอบของแบบทดสอบทั้งฉบับ P แทน อัตราส่วนของผู้ตอบถูกในข้อนั้น q แทน อัตราส่วนของผู้ตอบผิดในข้อนั้น แทน ความแปรปรวนของคะแนนทั้งฉบับ สูตรความแปรปรวน = ผลกำรวิเครำะห์ดังตำรำง
  • 5. ตารางค่าความยากง่าย (p) ค่าอานาจจาแนก (r) และค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับ ข้อที่ H L p r q pq 1 6 3 0.64 0.43 0.36 0.2304 2 6 3 0.64 0.43 0.36 0.2304 3 4 1 0.36 0.43 0.64 0.2304 4 5 2 0.50 0.43 0.50 0.2500 5 4 3 0.50 0.14* 0.50 0.2500 6 7 4 0.79 0.43 0.21 0.1659 7 7 6 0.93* 0.14* 0.07 0.0651 8 5 2 0.50 0.43 0.50 0.2500 9 6 3 0.64 0.43 0.36 0.2304 10 5 1 0.43 0.57 0.57 0.2451 รวม 55 28 2.1477 ค่ำควำมเชื่อมั่นทั้งฉบับ = .66 หมายเหตุ * เป็นข้อสอบที่ใช้ไม่ได้ จำกตำรำงนำมำแทนค่ำทำงสถิติได้ดังนี้ สูตรความแปรปรวน = = = = 5.30 ฉะนั้น หาค่า KR-20 ได้ดังนี้ = = × 0.59 KR-20 = 0.66 สรุปได้ว่า แบบทดสอบฉบับนี้มีค่าความเชื่อมั่นที่ 0.66 แปลความหมายได้ว่าแบบทดสอบนี้มีค่าความเชื่อมั่นใช้ได้
  • 6. 6. การวิเคราะห์ตัวเลือกตัวลวงของข้อสอบที่ใช้ไม่ได้ ข้อที่ 5 คำควบกล้ำเรียกอีกอย่ำงหนึ่งว่ำอย่ำงไร ก. ตัวควบ ข. ตัวกล้ำ ค. อักษรควบ ง. คำควบกล้ำ ข้อที่ ตัวเลือก H L หมายเหตุ 5 ก - - p = 0.50 ข - 1 r = 0.14 ค 4 3 ง 3 3 จำกตำรำงข้อที่ 5 มีค่ำ p = 0.50 มีค่ำ r = 0.14 ข้อสอบยำกปำนกลำงแต่จำแนกได้น้อย ตัวเลือก ค มีผู้เลือกมำกที่สุดในกลุ่ม H และกลุ่ม L ตัวลวง ก ไม่มีผู้เลือกทั้งในกลุ่ม H และกลุ่ม L ตัวลวง ข ไม่มีผู้เลือกในกลุ่ม H และมีผู้เลือก 1 คนในกลุ่ม L ตัวลวง ง กลุ่ม H มีผู้เลือก 3 คน กลุ่ม L มีผู้เลือก 3 คน จึงควรปรับปรุงตัวลวง ข้อ ง ดังนี้ ข้อที่ 5 คำควบกล้ำเรียกอีกอย่ำงหนึ่งว่ำอย่ำงไร ก. ตัวควบ ข. ตัวกล้ำ ค. อักษรควบ ง. อักษรนำ ข้อ 7 คำ “ครั้ง – ครำ” เขียนสะกดคำว่ำอย่ำงไร ก. ครั้งครำ ข. คลั้งคลำ ค. ครั้งคลำ ง. คลั้งคลำ ข้อที่ ตัวเลือก H L หมายเหตุ 7 ก 7 6 p = 0.93 ข - - r = 0.14 ค - 1 ง - -
  • 7. จำกตำรำงข้อที่ 7 มีค่ำ p = 0.93 มีค่ำ r = 0.14 ข้อสอบง่ำยเกินไปจำแนกได้น้อย ตัวเลือก ก มีผู้เลือกมำกที่สุดในกลุ่ม H และกลุ่ม L ตัวลวง ค มีผู้เลือกในกลุ่ม L 1 คน ตัวลวง ข และตัวลวง ง กลุ่ม ไม่มีผู้เลือกทั้ง ในกลุ่ม H และกลุ่ม L จึงควรปรับปรุงข้อคำถำมและตัวลวง ดังนี้ ข้อ 7 คำควบกล้ำใดเขียนสะกดถูกต้อง ก. ครั้งครำ ข. ขลัวตำ ค. ทรุดโซม ง. แซรก สรุปผลการวิเคราะห์ข้อสอบ จากการวิเคราะห์ข้อสอบ จากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทยจานวน 10 ข้อ สรุปได้ว่า ข้อสอบมีค่าความยากง่าย (p)มีค่าระหว่าง 0.36 - 0.930 ค่า อานาจจาแนก (r) มีค่าระหว่าง 0.14 – 0.57ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับ = .66แปลผลได้ ว่ามีความเชื่อมั่น ใช้ได้ จากข้อสอบทั้งหมด 10 ข้อ มีข้อสอบที่ใช้ได้ 8 ข้อ ใช้ไม่ได้ 2 ข้อ จึงได้ปรับปรุงข้อสอบ ดังกล่าว